بسم الله الرحمن الرحيم
ตัฟซีรุซูเราะติลบะเกาะเราะฮฺ
تفسير سورة البقرة
274-273 الآية
วันอังคารที่ 12 มิถุนายน 2550
ตัฟซีรุซูเราะติลบะเกาะเราะฮฺ
تفسير سورة البقرة
274-273 الآية
วันอังคารที่ 12 มิถุนายน 2550
لِلْفُقَرَاءِ الَّذِينَ أُحْصِرُوا فِي سَبِيلِ اللَّهِ لَا يَسْتَطِيعُونَ ضَرْبًا فِي الْأَرْضِ يَحْسَبُهُمُ الْجَاهِلُ أَغْنِيَاءَ مِنَ التَّعَفُّفِ تَعْرِفُهُمْ بِسِيمَاهُمْ لَا يَسْأَلُونَ النَّاسَ إِلْحَافًا وَمَا تُنْفِقُوا مِنْ خَيْرٍ فَإِنَّ اللَّهَ بِهِ عَلِيمٌ ﴿٢٧٣﴾
273. (คือให้บริจาคทาน) แก่บรรดาผู้ยากจนที่ถูกจำกัดตัวให้อยู่ในทางของอัลลอฮฺ โดยที่พวกเขาไม่สามารถจะเดินทางไปในดินแดนอื่นๆ ได้(เพื่อประกอบอาชีพ) ผู้ที่ไม่รู้คิดว่าพวกเขาเป็นผู้มั่งมี อันเนื่องจากความสงบเสงี่ยมเจียมตัว โดยที่เจ้าจะรู้จักเขาได้ด้วยเครื่องหมายของพวกเขา พวกเขาจะไม่ขอจากผู้คนในสภาพเซ้าซี้ และสิ่งดีใด ๆ ที่พวกเจ้าบริจาคไปนั้น แท้จริงอัลลอฮฺทรงรู้ดีในสิ่งนั้น
273. (คือให้บริจาคทาน) แก่บรรดาผู้ยากจนที่ถูกจำกัดตัวให้อยู่ในทางของอัลลอฮฺ โดยที่พวกเขาไม่สามารถจะเดินทางไปในดินแดนอื่นๆ ได้(เพื่อประกอบอาชีพ) ผู้ที่ไม่รู้คิดว่าพวกเขาเป็นผู้มั่งมี อันเนื่องจากความสงบเสงี่ยมเจียมตัว โดยที่เจ้าจะรู้จักเขาได้ด้วยเครื่องหมายของพวกเขา พวกเขาจะไม่ขอจากผู้คนในสภาพเซ้าซี้ และสิ่งดีใด ๆ ที่พวกเจ้าบริจาคไปนั้น แท้จริงอัลลอฮฺทรงรู้ดีในสิ่งนั้น
يَحْسِبهُمْ الْجَاهِل أَغْنِيَاء مِنْ التَّعَفُّف
أَيْ الْجَاهِل بِأَمْرِهِمْ وَحَالهمْ يَحْسِبهُمْ أَغْنِيَاء مِنْ تَعَفُّفهمْ فِي لِبَاسهمْ وَحَالهمْ وَمَقَالهمْ وَفِي هَذَا الْمَعْنَى الْحَدِيث الْمُتَّفَق عَلَى صِحَّته عَنْ أَبِي هُرَيْرَة قَالَ : قَالَ رَسُول اللَّه - صَلَّى اللَّه عَلَيْهِ وَسَلَّمَ - لَيْسَ الْمِسْكِين بِهَذَا الطَّوَّاف الَّذِي تَرُدّهُ التَّمْرَة وَالتَّمْرَتَانِ وَاللُّقْمَة وَاللُّقْمَتَانِ وَالْأَكْلَة وَالْأَكْلَتَانِ وَلَكِنَّ الْمِسْكِين الَّذِي لَا يَجِد غِنًى يُغْنِيه وَلَا يُفْطَن لَهُ فَيُتَصَدَّق عَلَيْهِ وَلَا يَسْأَل النَّاس شَيْئًا وَقَدْ رَوَاهُ أَحْمَد مِنْ حَدِيث اِبْن مَسْعُود أَيْضًا
السُّؤَالُ مَعَ الغِنَى
عَنْ عَبْد اللَّه بْن مَسْعُود قَالَ : قَالَ رَسُول اللَّه - صَلَّى اللَّه عَلَيْهِ وَسَلَّمَ - مَنْ سَأَلَ وَلَهُ مَا يُغْنِيه جَاءَتْ مَسْأَلَته يَوْم الْقِيَامَة خُدُوشًا أَوْ كُدُوحًا فِي وَجْهه قَالُوا : يَا رَسُول اللَّه وَمَا غِنَاهُ ؟ قَالَ : خَمْسُونَ دِرْهَمًا أَوْ حِسَابهَا مِنْ الذَّهَب وَقَدْ رَوَاهُ أَهْل السُّنَن الْأَرْبَعَة . وصححه الشيخ الألباني .
مَا جَاءَك مِنْ غَيْرِ مَسْأَلَةٍ
عَنِ ابْنِ عُمَرَ رَضِيَ اللهُ عَنْهُمَا قَالَ سَمِعْتُ عُمَرَ يَقُوْلُ كَانَ رَسُوْلُ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ يُعْطِيْنِيْ العَطَاءَ فَأَقُوْلُ أِعْطِهِ أَفْقَرَ إِلَيْهِ مِنِّيْ قَالَ فَقَالَ خُذْهُ إِذَا جَاءَكَ مِنْ هَذَا المَالِ شَيْءٌ وَأَنْتَ غَيْرَ مُشْرِفٍ وَلا سَائِلِ فَخُذْهُ فَتَمَوَّلْهُ فَإِنْ شِئْتَ كُلْهُ وَإِنْ شِئْتَ تَصَدَّقْ بِهِ وَمَا لا فلا تُتْبِعْهُ نَفْسَكَ قَالَ سَالِمُ بْنُ عَبْدِ الله فَلأَجْلِ ذَلِكَ كَان عَبْدُ الله لا يَسْأَلُ أَحَدَاً شَيْئَاً وَلا يَرُدُّ شَيْئَا أُعْطِيَهُ .رواه البخاري ومسلم والنسائي
الَّذِينَ يُنْفِقُونَ أَمْوَالَهُمْ بِاللَّيْلِ وَالنَّهَارِ سِرًّا وَعَلَانِيَةً فَلَهُمْ أَجْرُهُمْ عِنْدَ رَبِّهِمْ وَلَا خَوْفٌ عَلَيْهِمْ وَلَا هُمْ يَحْزَنُونَ ﴿٢٧٤﴾
274. บรรดาผู้ที่บริจาคทรัพย์ของพวกเขาทั้งในเวลากลางคืนและกลางวัน ทั้งโดยปกปิดและเปิดเผยนั้น พวกเขาจะได้รับรางวัลของพวกเขา ณ พระผู้เป็นเจ้าของพวกเขา และไม่มีความกลัวอย่างหนึ่งอย่างใดเกิดขึ้นแก่พวกเขา และทั้งพวกเขาก็จะไม่เสียใจ
274. บรรดาผู้ที่บริจาคทรัพย์ของพวกเขาทั้งในเวลากลางคืนและกลางวัน ทั้งโดยปกปิดและเปิดเผยนั้น พวกเขาจะได้รับรางวัลของพวกเขา ณ พระผู้เป็นเจ้าของพวกเขา และไม่มีความกลัวอย่างหนึ่งอย่างใดเกิดขึ้นแก่พวกเขา และทั้งพวกเขาก็จะไม่เสียใจ
الَّذِينَ يُنْفِقُونَ أَمْوَالَهُمْ بِاللَّيْلِ وَالنَّهَارِ سِرًّا وَعَلَانِيَةً
هَذَا مَدْح مِنْهُ تَعَالَى لِلْمُنْفِقِينَ فِي سَبِيله وَابْتِغَاء مَرْضَاته فِي جَمِيع الْأَوْقَات مِنْ لَيْل أَوْ نَهَار وَالْأَحْوَال مِنْ سِرّ وَجِهَار حَتَّى إِنَّ النَّفَقَة عَلَى الْأَهْل تَدْخُل فِي ذَلِكَ أَيْضًا كَمَا ثَبَتَ فِي الصَّحِيحَيْنِ أَنَّ رَسُول اللَّه - صَلَّى اللَّه عَلَيْهِ وَسَلَّمَ - قَالَ لِسَعْدِ بْن أَبِي وَقَّاص حِين عَادَهُ مَرِيضًا عَام الْفَتْح وَفِي رِوَايَة عَام حَجَّة الْوَدَاع وَإِنَّك لَنْ تُنْفِق نَفَقَة تَبْتَغِي بِهَا وَجْه اللَّه إِلَّا اِزْدَدْت بِهَا دَرَجَة وَرِفْعَة حَتَّى مَا تَجْعَل فِي فِي اِمْرَأَتك
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น